พิจิตรดอกงิ้วที่กำลังออกดอกเบ่ งบานสีแดงสะพรั่ง เป็นอีกหนึ่งวัตถุดิบที่จะได้กิ นกันปีละครั้งเท่านั้นช่ วงเวลาในการเก็บดอกงิ้วจะอยู่ ระหว่างเดือนมกราคมถึงกุมภาพั นธ์ และด้วยความที่หากินยาก ชาวบ้านจึงนิยมนำไปตากแห้งเพื่ อส่งจำหน่าย
ที่บ้านวังสำโรงอำเภอตะพานหินจั งหวัดพิจิตรชาวบ้านที่ว่ างจากทำนาออกมาหาเก็บดอกงิ้วเพื่ อนำไปตากแห้งและนำไปขายซึ่ งดอกงิ้วจะมีลักษณะกลีบดอกสี แดงดอกละประมาณ 5 กลีบออกดอกเป็นกลุ่มๆ ตรงปลายกิ่งของต้นงิ้วที่มี ความสูงประมาณ 15-25 เมตร ส่วนใหญ่จะพบมีการปลู กเฉพาะภาคเหนือบางที่เท่านั้น จึงพบเห็นต้นงิ้วได้ยากในปัจจุ บัน ส่วนที่นำมารับประทานคือส่ วนเกสรดอกงิ้ว และในการเก็บดอกงิ้วซึ่งไม่ จำเป็นต้องปีนต้นงิ้วขึ้นไปเก็บ เพราะสามารถเก็บดอกงิ้วที่ตกอยู่ ใต้ต้นมาได้เลย เมื่อเก็บดอกงิ้วมาแล้วเด็ ดเอากลีบออกเหลือแต่เกสรสีน้ำ ตาลด้านใน นำมาตากแดดให้แห้งสนิท แต่ก่อนนำไปทำอาหารให้แช่น้ำค้ างคืนให้นุ่มก่อน
ลุงสาโรจน์ ชาญเชี่ยว |
ลุงสาโรจน์ ชาญเชี่ยว ชาวบ้าน ตำบลวังสำโรง อำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร เล่าว่า ดอกงิ้วที่ตนเองกำลังนั้นเป็นวั ตถุดิบสำหรับการปรุ งอาหารของชาวเหนือเช่นขนมจีนน้ำ เงี้ยวและอาหารล้านนาอื่นๆอี กหลายอย่างโดยจะเก็บดอกงิ้วแล้ วแกะกลีบของดอกงิ้วออกเพื่ อจะเอาไปตากแห้งโดยสามารเก็บได้ วันละ30-40กิโลกรัมเมื่ อนำไปตากแห้งแล้วจะเหลือน้ำหนั กแค่ประมาณ 3-4 กิโลกรัมและจะนำไปจำหน่ ายในราคากิโลกรั มละ200บาทสามารถหาเงินในช่วงที่ ไม่ได้ทำนาถึงวันละ600-800บาท
สำหรับดอกงิ้วเป็นส่ วนประกอบสำคัญของขนมจีนน้ำเงี้ ยวและอาหารล้านนาอื่นๆ จริงๆ แล้วสามารถกินได้ทั้งดอกงิ้ วสดและดอกงิ้วแห้ง มีกลิ่นและรสชาติที่เป็นเอกลั กษณ์ของอาหารล้านนา ดอกงิ้วสดต้มกินเหมือนผักต้มจิ้ มกินกับน้ำพริกใส่ในแกงส้มหรื อแกงแค ส่วนดอกงิ้วแห้งมักใส่ต้มกั บแกงที่มีน้ำอย่างแกงน้ำเงี้ ยวเป็นต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น